top of page

กศน. อำเภอเมืองยโสธร

สำนักงาน กศน. จังหวัดยโสธร

การจัดการศึกษาต่อเนื่อง

รูปแบบ
การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ

หลักสูตร 6 ชั่วโมง

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

แผนการดำเนินงานการจัดการศึกษาต่อเนื่อง

รูปแบบการศึกษาเพื่อการพัฒนาอาชีพ

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 (ไตรมาสที่  3 )

วัตถุประสงค์ 
พัฒนาอาชีพ เพิ่มรายได้ ลดค่าใช้จ่าย

เป้าหมาย-กลุ่มเป้าหมาย 
- สร้างรายได้เสริม ภาวะการระบาดโรคติดต่อ

   COVID-19

- ประชาชนที่ได้รับผลการทบในพื้นที่ 11 ตำบล

   จำนวน 88 คน

หลักสูตร-รายวิชา (หลักสูตร 6 ชั่วโมง)
- วิชาการทำอาหารขนม

- วิชาการทำหน้ากากอนามัยแบบผ้า

- วิชาการทำสายคล้องหน้ากากอนามัย 

- วิชาการทำไม้กวาดดอกหญ้า
- วิชาการทำแหนม

กศน. ตำบลในเมือง

วิชา : การทำอาหารขนม

วันที่จัด : 14 - 15  มิถุนายน 2564 

สถานที่ดำเนินการ : เลขที่ 26 ถนนวารีราชเดช

ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร

ครู กศน. ตำบล : นายภักดี คุณุรัตน์

วิทยาการ : นางสาวพนิดา พวงชมภู

กศน. ตำบลหนองเรือ

วิชา : วิชาการทำหน้ากากผ้า

วันที่จัด : 14 - 15  มิถุนายน 2564 

สถานที่ดำเนินการ : กศน.ตำบลหนองเรือ

ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร

ครู กศน. ตำบล : นายสิทธิพงษ์ ไชยมตย์

วิทยาการ : นางลำดวน วงศ์ศิลป์

กศน. ตำบลนาสะไมย์

วิชา : วิชาการทำสายคล้องหน้ากากอนามัยผ้า

วันที่จัด : 14 - 15  มิถุนายน 2564 

สถานที่ดำเนินการ : ศาลากลางบ้านชาด หมู่ที่ 7

ตำบลนาสะไมย์  อำเภอเมืองยโสธร

ครู กศน. ตำบล : นางสาวนิสากร พันธ์พิพัฒน์

วิทยาการ : นางมนูญ กาหลิบ

กศน. ตำบลนาสะไมย์

วิชา : วิชาการทำสายคล้องหน้ากากอนามัยผ้า

วันที่จัด : 16 - 17 มิถุนายน 2564 

สถานที่ดำเนินการ : ศาลากลางบ้าน หมู่ที่ 13

ตำบลนาสะไมย์  อำเภอเมืองยโสธร

ครู กศน. ตำบล : นางสาวนิสากร พันธ์พิพัฒน์

วิทยาการ : นางมนูญ กาหลิบ

กศน. ตำบลเขื่องคำ

วิชา : วิชาการทำสายคล้องหน้ากากอนามัยผ้า

วันที่จัด : 14 - 15 มิถุนายน 2564 

สถานที่ดำเนินการ : ศาลากลางบ้าน หมู่ที่ 9
ตำบลเขื่องคำ  อำเภอเมืองยโสธร

ครู กศน. ตำบล : นางสาวสุวิมล ไชยเลิศ

วิทยาการ : นางเฉลิม ไชยเลิศ

กศน. ตำบลตาดทอง

วิชา : วิชาการทำอาหารขนม

วันที่จัด : 14 - 15 มิถุนายน 2564 

สถานที่ดำเนินการ : เลขที่ 23  หมู่ที่ 4
ตำบลตาดทอง  อำเภอเมืองยโสธร

ครู กศน. ตำบล : นางวาสนา เดชพันธ์

วิทยาการ : นางเหมวรรณ์ หาไชย

กศน. ตำบลขั้นไดใหญ่

วิชา : วิชาการทำไม้กวาด

วันที่จัด : 14 - 15 มิถุนายน 2564 

สถานที่ดำเนินการ : กลุ่มสตรีบ้านโพนขวาว

หมู่ที่ 6 ตำบลขั้นไดใหญ่ อำเภอเมืองยโสธร

ครู กศน. ตำบล : นายพิชาณัฐ วีระสอน

วิทยาการ : นางอ่อนสี สายศรี

กศน. ตำบลน้ำคำใหญ่

วิชา : วิชาการทำไม้กวาด

วันที่จัด : 14 - 15 มิถุนายน 2564 

สถานที่ดำเนินการ : ศาลากลางบ้านกุดจอก

ตำบลน้ำคำใหญ่ อำเภอเมืองยโสธร

ครู กศน. ตำบล : นายนิพันธ์พงษ์ จันทร์ทรง

วิทยาการ : นางอัมรา แสงสว่าง

กศน. ตำบลดู่ทุ่ง

วิชา : วิชาการทำไม้กวาด

วันที่จัด : 14 - 15 มิถุนายน 2564 

สถานที่ดำเนินการ : บ้านเลขที่ 26 หมู่ที่ 4

ตำบลดู่ทุ่ง อำเภอเมืองยโสธร

ครู กศน. ตำบล : นางสุธิดา ลีลา

วิทยาการ : นางทองแดง โสตะวงศ์

กศน. ตำบลทุ่งแต้

วิชา : วิชาการทำแหนม

วันที่จัด : 14 - 15 มิถุนายน 2564 

สถานที่ดำเนินการ : ศาลากลางบ้าน หมู่ที่ 1

ตำบลทุ่งแต้ อำเภอเมืองยโสธร

ครู กศน. ตำบล : นายไพรัชช์  เรืองบุตร

วิทยาการ : นางสุมาลี กุบแก้ว

กศน. ตำบลเดิด

วิชา : วิชาการทำไม้กวาด

วันที่จัด : 14 - 15 มิถุนายน 2564 

สถานที่ดำเนินการ : ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3

ตำบลเดิด อำเภอเมืองยโสธร

ครู กศน. ตำบล : นางสาวพัชราภรณ์  คำมั่น

วิทยาการ : นางสุนิษา สิมมลี

ผลการประเมินโครงการ

1. พื้นที่เป้าหมาย/รายวิชาที่เปิดสอน

กศน. ตำบล

รายวิชาที่เปิดสอน

ทุ่งแต้

สำราญ

ตาดทอง

ในเมือง

น้ำคำใหญ่

ขั้นไดใหญ่

นาสะไมย์

นาสะไมย์

ดู่ทุ่ง

เดิด

การทำแหนม

การทำหน้ากากผ้า

การทำขนมจีนน้ำยาป่า/เต้าส่วน)

การทำอาหารขนม

การทำไม้กวาดดอกหญ้า

การทำไม้กวาดดอกหญ้า

การทำสายคล้องหน้ากากอนามัย

วิชา การทำสายคล้องหน้ากากอนามัย

การทำไม้กวาดดอกหญ้า

การทำไม้กวาดดอกหญ้า

2. กลุ่มเป้าหมาย

2.1 จำนวนกลุ่มเป้าหมายตามแผน

: 88 คน

2.2 จำนวนผู้ผ่านการอบรมตามโครงการ

: 88 คน

2.3 จำนวนกลุ่มเป้าหมายจำแนกตามเพศ

เพศชาย   : 2 คน

เพศหญิง : 86 คน

2.4 จำนวนกลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงอายุ

1) อายุต่ำกว่า 15 ปี

2) อายุ 15-39 ปี

3) อายุ 40-59 ปี

4) อายุ 60 ปีขึ้นไป

: 0 คน

: 12 คน

: 48 คน

: 28 คน

2.5 จำนวนกลุ่มเป้าหมายจำแนกตามอาชีพ

1) รับราชการ

2) พนักงานรัฐวิสาหกิจ

3) ค้าขาย

4) เกษตรกร

5) รับจ้าง

6) อื่นๆ

: 0 คน

: 0 คน

: 0 คน

: 88 คน

: 0 คน

: 0 คน

3. การประเมินระดับความพึงพอใจ

การประเมินความพึงพอใจ แบ่งประเด็นการประเมินเป็น 4 ด้าน (4 ตอน) มีประเด็นที่ต้องการประเมิน 15 ข้อ กำหนดค่าคะแนนในแต่ละประเด็นเป็น 5 ระดับคือ

คะแนน  1 คะแนน ค่าน้ำหนักคะแนน = น้อยที่สุด

คะแนน  2 คะแนน ค่าน้ำหนักคะแนน = น้อย

คะแนน  3 คะแนน ค่าน้ำหนักคะแนน = ปานกลาง

คะแนน  4 คะแนน ค่าน้ำหนักคะแนน = มาก

คะแนน  5 คะแนน ค่าน้ำหนักคะแนน = มากที่สุด

ผู้ตอบแบบสอบถามคือ กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 80 คน

มีผลการประเมิน ดังนี้

ตอนที่ 1  ความพึงพอใจด้านเนื้อหา

: 4.83

1.1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ

: 4.90

1.2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ

: 4.70

: 4.70

1.3 เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย

1.4 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต

: 4.60

ความพึงพอใจด้านเนื้อหาได้คะแนน 4.83 ค่าระดับคะแนน มากที่สุด

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม

: 4.80

2.1 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม

: 4.70

2.2 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์

: 4.80

: 4.70

2.3 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา

2.4 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย

: 5.00

2.5 วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์

: 4.80

ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมได้คะแนน 4.80 ค่าระดับคะแนน มากที่สุด

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร

: 4.87

3.1 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด

: 4.90

3.2 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม

: 4.90

: 4.80

3.3 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม

ความพึงพอใจด้านวิทยากรได้คะแนน 4.87 ค่าระดับคะแนน มากที่สุด

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก

: 4.70

4.2 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้

: 4.60

4.2 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้

: 4.70

4.3 การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา

: 4.80

ความพึงพอใจด้านวิทยากรได้คะแนน 4.70 ค่าระดับคะแนน มากที่สุด

5. แบบติดตามผู้เรียนจบหลักสูตร

แบบติดตามผู้เรียนจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลของผู้เรียนในการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์หลังจากจบหลักสูตรแล้ว ซึ่งกำหนดประเด็นการนำไปใช้ประโยชน์ 3 ด้าน ตามเงื่อนไขของหลักสูตร โดยให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตอบแบบสอบถามทุกคน จำนวน 80 คน แล้วนำผลการประเมินมาคิดค่าร้อยละ ดังนี้

5.1 นำไปใช้ด้านพัฒนาอาชีพเช่น เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย สร้างอาชีพใหม่ ต้องการได้รับการพัฒนา และต่อยอดอาชีพเดิมทำเป็นอาชีพเสริม

คิดเป็นร้อยละ : 68.75

5.2 นำไปใช้ด้านพัฒนาทักษะชีวิต เช่น พัฒนาสุขภาพกาย พัฒนาสุขภาพจิต พัฒนาการคิดวิเคราะห์

คิดเป็นร้อยละ : 17.50

5.3 นำไปใช้ด้านด้านพัฒนาสังคมและชุมชนเช่น ร่วมพัฒนาชุมชนแก้ปัญหาภัยแล้ง ด้านการประหยัดพลังงาน

คิดเป็นร้อยละ : 8.75

5.4 นำไปใช้ด้านอื่นๆ

คิดเป็นร้อยละ : 5.00

ที่ปรึกษา

แหล่งที่มาของข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูล


ประมวลผล/จัดทำรายงาน

: นายเจียม  ขันเงิน

: ผู้อำนวยการ กศน. อ. เมืองยโสธร

: ครู กศน. ตำบล ทั้ง 10 แห่ง
: นางสาวจีรนันท์  กกแก้ว

: ครูอาสาสมัคร กศน.
: นายบรรลุ  ทองเข็ม
: ครูชำนาญการพิเศษ

bottom of page